พระรอดถือว่าเป็นพระ 1 ในชุดพระเบญจภาคีที่มีความสำคัญ ในเรื่องของความเก่ามีอายุถึง 1,300 ปี อีกประการหนึ่งมีความสวยงามในศิลปะในการสร้างที่ลงตัว ถือว่าเป็นพระเครื่องขนาดเล็กที่มีรายละเอียด มีความสวยงามประณีตด้วยศิลปะทวาราวดีผสมลพบุรี จากหลักฐานศิลาจารึก และโบราณวัตถุที่ค้นพบในวัดมหาวัน และวัดดอนแก้ว สันนิษฐานว่าการสร้างพระรอดแบ่งออกเป็น 2 ยุคThe legend of Phra Rod Phra Rod is considered one of important amulets in Benjapakee set that famous for itself. Phra Rod was created to have perfect of beautifully designed in Dhavaravadi mixed Lopburi style about 1300 years ago. Evidence from stone inscriptions assumed that antiques were found in the area of Wat Mahawan and Wat Don Kaew divided into 2 generations.
ยุคแรกในสมัยพระนางจามเทวีปฐมกษัตริย์ของนครหริภุญชัย ยุคที่ 2 ในสมัยพระยาสรรพสิทธ์ ในพิมพ์พระรอดยุคแรกนั้น จะแฝงด้วยปรัชญาและคติธรรมในการพิมพ์พระตามความหมายมวลสารที่บรรจุลงไปใน องค์พระ แต่ปัจจุบัน ก็ยังมี การแยกแยะพิมพ์ที่ไม่ถูกทาง เช่น การนำพระรอดยุคที่สร้างโดยพระยาสรรพสิทธ์ นำมาเปรียบเทียบกับพระรอดยุคแรกที่สร้างโดยพระนางจามเทวี ซึ่งจะเปรียบเทียบกันไม่ได้ในเรื่องนี้ The first generation was built early in the reign of Queen Chammathewee who’s the first ruler of Lamphun. And the second generation built in the reign of Phraya Sappasit. The creation of Phra Rod was hidden of philosophy and morale according to masses that put into the amulet. At present the mold discrimination of Phra Rod amulet is not the right way. We cannot comparison Phra Rod that built between Queen Chammathewee era and Phaya Sappasit era. There is not comparable in this regard.
(1) ความงามที่มีคุณค่าทางศิลปะมีความคลาสสิกที่มีแนวคิด
(2) ความแตกต่างกันในเรื่องของความเก่าและสิ่งแวดล้อมทางนิเวศวิทยา
(3) ในด้านศิลปะที่อ่อนช้อยงดงามและสง่างามอลังการในพระรอดพิมพ์ใหญ่ ใบโพธิ์ที่รอบองค์พระ เหมือนจะมีชีวิตให้ความรู้สึก และที่สำคัญที่สุดคือเรื่องของความหมายของมวลสารที่บรรจุลงไปนั้นถือว่า สำคัญที่สุดในการสร้างพระรอด และได้แฝงปรัชญาในการสร้าง ได้ทำเครื่องหมายราชวงค์ ในองค์พระรอดเช่นพระรอดพิมพ์ ใหญ่พิมพ์เครื่องราชฯ
(1) Beauty that has artistic value is a classic concept.
(2) Differences on the basis of the old.
(3) To delicate beauty of art can be seen in the big mold Phra Rod that designed to have Poe leaves. The most important building process the amulet is different mass that packed into the amulet. In the building of Phra Rod the builder had marked the royal seal on each amulet.
(2) Differences on the basis of the old.
(3) To delicate beauty of art can be seen in the big mold Phra Rod that designed to have Poe leaves. The most important building process the amulet is different mass that packed into the amulet. In the building of Phra Rod the builder had marked the royal seal on each amulet.
พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน (พิมพ์เครื่องราชฯ)เป็นพระรอดยุค 1,300 ปี โซนเนื้อผงหิน
ที่ค้นพบที่กำแพงข้างวัดมหาวัน
ประวัติพระ ค้นพบโดยช่างแก้วขณะขุดซ่อมถนนข้างวัดด้านทิศตะวันตก เป็น พิมพ์ใหญ่ นิยมองขนาดเขื่องเพราะมีปีกกว้างกว่าพระรอดยุคหลังๆ โบราณวิจารณ์ เพราะเป็นพระรอดที่สร้างในยุคพระนางจามเทวี โดยนำพรรอดที่ขุดหน้าวัดจามเทวีที่ค้นพบโดยช่างเสริฐเป็นแม่แบบ(Master pieces ) จะมีความเป็นธรรมชาติใกล้เคียงในด้านความแห้งของเนื้อพระเม็ดผดบนผิวพระผิวพระออกโซนหยาบมัลักษณะคล้ายหนังปลากระเบน สาเหตุเกอดจาการขยายตัวมวลสารภายในเนื้อพระขนาดของพระ จะมีลักษณะใหญ่กว่าพระรอดยุคหลังๆ เพราะมีปีกกว้างแสดงความยิ่งใหญ่อลังการของพระรอดพิมพ์ใหญ่ และฐานพระมักจะจงใจยื่นออกมาให้ยาวกว่าปกติ บางองค์มองด้านข้างคล้ายหางเป็ด จึงมีควาแตกต่างกับพระรอดยุคหลัง เครื่องราชฯเห็นชัดเจนเป็นรูปเท้าช้างโผล่มาให้เห็นชัดเจน
The big mold Phra Rod amulet of Wat Mahawan (called insignia pattern) aged 1300 years was founded by Mr.Kaew a contractor while digging the road repair measure in the west of the temple. It was built in the reign of Queen Chammathewee. The amulet characteristics from Wat Chammathewee accepted as a master piece with spontaneity, can view from dryness of amulet skin that caused of expansion of the mass in the skin like ray skin. The size of amulet in this generation has bigger than the amulet in the generation after because the builder wants to show embellishment. The builder has designed protrude at base like duck tail. An insignia-mark can see clearly can say it was completely different from the amulet that built in generation after.
ด้านข้างพระรอด(Side view) จะมีลักษณะบางไม่เหมือนพระตลาดทั่วไป
ฐานดากด้านล่าง จะงอนคล้ายก้นเป็ด
ฐานดากด้านล่าง จะงอนคล้ายก้นเป็ด
ด้านหลังพระอาจจะเห็นลายมือใหญ่เป็นปืดเดียวคล้ายกับพระผงสุพรรณบางองค์เห็นไม่ชัด
เนื่องจากลายมือผู้ปั้นสึกจึงไม่ค่อยเห็นลายมือ สิ่งที่มองเห็นคราบแคลเซี่ยม
เนื่องจากลายมือผู้ปั้นสึกจึงไม่ค่อยเห็นลายมือ สิ่งที่มองเห็นคราบแคลเซี่ยม
ด้านข้างพระด้านซ้าย (side view)
พุทธลักษณะพระรอดที่สร้างในยุคที่ 1
1. เนื้อหยาบ
2. ผิวพระ
3. มวลสาร
4. ธรรมชาติ
5. รอยครูดที่แก้มด้านซ้ายองค์พระ
6. รอยเสี้ยนไม้
1. เนื้อหยาบ
2. ผิวพระ
3. มวลสาร
4. ธรรมชาติ
5. รอยครูดที่แก้มด้านซ้ายองค์พระ
6. รอยเสี้ยนไม้
Phra Rod character in 1st generation
1. Coarse-grained
2. The surface
3. Mass
4. Nature
5. Scratch mark on the left cheek
6. Burr wood scratched จาก ศิลาจารึกที่ค้นพบในวัดมหาวัน ท่านศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดยส์ ได้อ่านหลักศิลาจารึก 3 ด้าน อ่านแปลได้ด้านหนึ่ง ส่วนอีกด้านหนึ่งขำรุดข้องความลบเลือนหาย อ่านพอสรุปข้อความกล่าวถึงการปฏิสังขรณ์ วัดวาอาราม และสิ่งอื่น ๆ เช่น พระเจดีย์ พระอุโมงค์ และพระพุทธรูป ไม่ปรากฏนามของกษัตริย์และศักราช สันนิษฐานว่ากษัตริย์ ได้แก่พระยาสรรพสิทธิ์ ในสมัยของพระองค์นิยมการจารึกในศิลา มีลักษณะใกล้เคียงกับที่พบที่วัดดอนแก้ว มีคำอ่านดังนี้
1. Coarse-grained
2. The surface
3. Mass
4. Nature
5. Scratch mark on the left cheek
6. Burr wood scratched จาก ศิลาจารึกที่ค้นพบในวัดมหาวัน ท่านศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดยส์ ได้อ่านหลักศิลาจารึก 3 ด้าน อ่านแปลได้ด้านหนึ่ง ส่วนอีกด้านหนึ่งขำรุดข้องความลบเลือนหาย อ่านพอสรุปข้อความกล่าวถึงการปฏิสังขรณ์ วัดวาอาราม และสิ่งอื่น ๆ เช่น พระเจดีย์ พระอุโมงค์ และพระพุทธรูป ไม่ปรากฏนามของกษัตริย์และศักราช สันนิษฐานว่ากษัตริย์ ได้แก่พระยาสรรพสิทธิ์ ในสมัยของพระองค์นิยมการจารึกในศิลา มีลักษณะใกล้เคียงกับที่พบที่วัดดอนแก้ว มีคำอ่านดังนี้
Professor George Coedes was read a stone inscription there are 3 sides only one can read as the other two fade lost. The message mentioned of temples’ restoration and other constructions such as stupas, the tunnel and Buddha images. However it’s no appearance of the king’s name and year to restore. Assume that the inscriptions were made by Phraya Sappasit. Can read as follows:-
“นี่ เป็นการกล่าวถึงเรื่องศาสนา ซึ่งข้าพเจ้า................ในสมัยที่...............เดือนตรา ชัย............ซึ่งได้กระทำ...............บาทและสามสิบ..........ในเงิน สามสิบ.........สองบาท..........ตราลัคบิสสุการ์ (Tralac Bissukar) ซึ่ง เป็น.......ปี..........สร้างวัดนี้และอุโมงค์............ร้อยเก้า สิบ...........ร้อย...........ห้าสิบบาท.........ร้อยและบาท........บาท ksar..........สามบาท เช่นเดียว............บาท Par ........สิบสาม เช่นเดียว.......หนึ่ง.......และ.........หนึ่ง...........เงิน.......บาท และหนึ่ง Tapal เจดีย์ราชะ........ขออุทิศทั้งหมดคือ.........แสนห้าหมื่น Kladin ……..สามสิบห้าบาทและสามสิบ.....เจ็ดบาท......ทองแดงหกบาท........kyot…….. หนึ่งของสัมฤทธิ์.......สามบาทหนึ่งสิบบาท.......kyak สองแท่ง......หนึ่งแท่ง.......สาม........หิน หนึ่ง หก ของ สังเวยเจ็ดอย่าง..........ที่หนึ่ง...........ที่สาม kladin ..........หนึ่ง mrin ksay ทาสหนึ่งคน ดินที่ปลูกแล้วงาช้าง........ดินที่ปลูกแล้ว..........หมื่น..........”
“นี่ เป็นการกล่าวถึงเรื่องศาสนา ซึ่งข้าพเจ้า................ในสมัยที่...............เดือนตรา ชัย............ซึ่งได้กระทำ...............บาทและสามสิบ..........ในเงิน สามสิบ.........สองบาท..........ตราลัคบิสสุการ์ (Tralac Bissukar) ซึ่ง เป็น.......ปี..........สร้างวัดนี้และอุโมงค์............ร้อยเก้า สิบ...........ร้อย...........ห้าสิบบาท.........ร้อยและบาท........บาท ksar..........สามบาท เช่นเดียว............บาท Par ........สิบสาม เช่นเดียว.......หนึ่ง.......และ.........หนึ่ง...........เงิน.......บาท และหนึ่ง Tapal เจดีย์ราชะ........ขออุทิศทั้งหมดคือ.........แสนห้าหมื่น Kladin ……..สามสิบห้าบาทและสามสิบ.....เจ็ดบาท......ทองแดงหกบาท........kyot…….. หนึ่งของสัมฤทธิ์.......สามบาทหนึ่งสิบบาท.......kyak สองแท่ง......หนึ่งแท่ง.......สาม........หิน หนึ่ง หก ของ สังเวยเจ็ดอย่าง..........ที่หนึ่ง...........ที่สาม kladin ..........หนึ่ง mrin ksay ทาสหนึ่งคน ดินที่ปลูกแล้วงาช้าง........ดินที่ปลูกแล้ว..........หมื่น..........”
“This is a saying of religion which I…….in session…………month seal victory…………has been done……………
Baht and thirty……………..in money thirty…….two Baht…………..Tralac Bissuka which was……..year…………….
was built this temple and the tunnel……..hundred and nine, ten…….hundred……fifty Baht……hundred and Baht…….Baht and three Baht same as………..Baht……..thirteen same as…….one………and……….one…….money
……..Baht and one Tapal, Raja Chedi…………..all dedicate is……………one hundred and fifty thousand Kaldin………thirty-five Baht and thirty…….seven Baht………….six Baht of copper……..Kyot……….One bronze…..three Baht-one-ten Baht………Kyak two bars………..one bar……..three………stone one six of seven things of sacrifice………..the first……………the third kladin………one mrin ksay…a slave, soil..built and ivory…..soil, was built…..ten thousand……….” จากศิลาจารึกทำให้ทราบว่า มีการปฏิสังขรณ์สร้างพระเจดีย์ มีการสร้างพระอุโมงค์ แสดงให้เห็นว่า ในสมัยนั้นนิยมสร้างพระเจดีย์คร่อมพระอุโมงค์ ดังจะเห็นได้จาก วัดอุโมงค์ในจังหวัดเชียงใหม่ ที่สร้างในสมัยพญาเม็งรายปฐมกษัตริย์เชียงใหม่ วัดมหาวันสร้างโดย พระนางจามเวที เพราะเป็นพระอารามหลวงในสมัยนั้นต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 17 สมัยพระยาสรรพสิทธ์ เป็นกษัตริย์ ได้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง ทำให้เจดีย์และสิ่งก่อสร้างภายในวัด และพระอุโมงค์พังทลาย จึงต้องทำการบูรณปฏิสังขรณ์ ซ่อมแซมดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึก
Baht and thirty……………..in money thirty…….two Baht…………..Tralac Bissuka which was……..year…………….
was built this temple and the tunnel……..hundred and nine, ten…….hundred……fifty Baht……hundred and Baht…….Baht and three Baht same as………..Baht……..thirteen same as…….one………and……….one…….money
……..Baht and one Tapal, Raja Chedi…………..all dedicate is……………one hundred and fifty thousand Kaldin………thirty-five Baht and thirty…….seven Baht………….six Baht of copper……..Kyot……….One bronze…..three Baht-one-ten Baht………Kyak two bars………..one bar……..three………stone one six of seven things of sacrifice………..the first……………the third kladin………one mrin ksay…a slave, soil..built and ivory…..soil, was built…..ten thousand……….” จากศิลาจารึกทำให้ทราบว่า มีการปฏิสังขรณ์สร้างพระเจดีย์ มีการสร้างพระอุโมงค์ แสดงให้เห็นว่า ในสมัยนั้นนิยมสร้างพระเจดีย์คร่อมพระอุโมงค์ ดังจะเห็นได้จาก วัดอุโมงค์ในจังหวัดเชียงใหม่ ที่สร้างในสมัยพญาเม็งรายปฐมกษัตริย์เชียงใหม่ วัดมหาวันสร้างโดย พระนางจามเวที เพราะเป็นพระอารามหลวงในสมัยนั้นต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 17 สมัยพระยาสรรพสิทธ์ เป็นกษัตริย์ ได้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง ทำให้เจดีย์และสิ่งก่อสร้างภายในวัด และพระอุโมงค์พังทลาย จึงต้องทำการบูรณปฏิสังขรณ์ ซ่อมแซมดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึก
From stone inscriptions to know that have restored the buildings at that time was popularity building stupa astride tunnel. Examples can be seen at Wat U-Mong in Chiangmai which was built by Phaya Mengrai, the first ruler of Chiangmai and Wat Mahawan of Queen Chammathewee. Later in 17th of Buddhist era in the reign of Phraya Sappsit there was a massive earthquake made stupa and tunnel collapsed then the restoration begins again.
เมื่อมีการสร้างพระเจดีย์ใหม่ก็ มีการสร้างพระรอดบรรจุใหม่ บรรจุไว้ในพระเจดีย์ใหม่ โดยนำพระรอดพิมพ์ใหญ่ยุคแรกมามาบรรจุ และเป็นพระต้นแบบในการสร้างพิมพ์พระ แต่มีความแตกต่างในด้านโพธิ์สมมุติที่ ไม่มีจุดตำหนิที่แฝงด้วยปรัชญาตามจุดสำคัญบนองค์พระรอด ยุคนี้จะมีมวลสารค่อนข้างละเอียดผสมว่าน ทำให้นึกไปถึง พระรอดของครูบากองแก้วและเณรเบี้ยว ที่สร้างพระรอดในยุคที่ 3 โดยนำพิมพ์พระจากพิมพ์เก่ามากและถอดพิมพ์จะเห็นว่ามีขนาดเล็กผิดปกติ และพระรอด ยุคนี้ไม่มีคราบกรุปรากฏภายในองค์พระออกมา เช่น พระรอดยุคพระนางจามเทวี ยุคที่ 1
Anytime new stupa has build new Phra Rod amulet will reload into the new stupa by bringing the early generation of big mold Phra Rod as a master to building new amulet. An amulet in this generation has fine-grain mass, thought to Kru Ba Kongkaew and novice Biew who built Phra Rod in the third generation that unusual small and have no stain as the first generation amulet in the reign of Queen Chammathewee.
รูปภาพแทรก พระรอดพระยาสรรพสิทธิ์
Photo insert: Phra Rod Phraya Sappasit
พุทธลักษณะในการสร้างพระรอดในยุคที่ 2 พระยาสรรพสิทธิ์ ความแตกต่าง
1. เนื้อพระรอด
2. ผิวพระ
3. มวลสาร
4. ธรรมชาติ
5. รอยครูดที่แก้มด้านซ้าย
6. รอยเสี้ยนไม้
1. เนื้อพระรอด
2. ผิวพระ
3. มวลสาร
4. ธรรมชาติ
5. รอยครูดที่แก้มด้านซ้าย
6. รอยเสี้ยนไม้
The characteristic in building Phra Rod amulet for 2nd generation of Phraya Sappasit
1. The texture of Phra Rod
2. The skin
3. Mass
4. Nature
5. Scratched mark on the left cheek
6. Burr wood scratched
1. The texture of Phra Rod
2. The skin
3. Mass
4. Nature
5. Scratched mark on the left cheek
6. Burr wood scratched
รูปภาพด้านหน้าตัดของดินทางธรณีวิทยา
Picture of geology cross section
รูป ภาพด้านหน้าตัดของดินทางธรณีวิทยาแบ่งดินออกเป็น 2 ชั้น คือดินขั้นบนและดินชั้นล่าง ในด้านการพิจารณาพระรอดวัดมหาวันทำให้ทราบว่าการสร้างพระรอด มี 2 ยุค ยุคแรกสร้างโดยพระนางจามเทวี พระรอดที่ค้นพบจึงมีความลึกที่ 1.5 – 2 เมตรจากผิวดิน ยุคที่ 2 สร้างโดย พระยาสรรพสิทธิ์ จาการขุดค้นพบพระรอดยุค พระยาสรรพสิทธิ์ มีระยะความลัก 1 – 1.5 เมตรจากผิวดิน เนื้อพระมีลักษณะแห้งเป็นสีดอกพิกุลเป็นส่วนมาก ส่วนสีอื่น ๆ พบน้อยมาก มีพระรอดพิมพ์ใหญ่เท่านั้นที่มีความงามใกล้เคียงพระรอดยุคแรก เนื่องจากเป็นพระถอดพิมพ์จึงมีขนาดที่เล็กกว่าพระยุคแรก
Photo:-the geological cross-sectional picture shown 2 layers of soil are upper soil and lower soil layers. So we know that the building has 2 generations. The first generation of amulet built by Queen Chammathewee was found at 1.5-2 meters depth from the surface. The second generation amulet built by Phraya Sappasit was found at 1-1.5 meter depth from the surface. Most amulets are pale-white and less in another color.
พระรอดที่ ช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุด ถนนข้างวัดมหาวันในการซ่อมแซมถนนข้างวัด มีความลึก 2 – 4 เมตร เป็นพระรอดที่สร้างยุคแรกโดยพระนางจามเทวีพระรอดจำนวนมากกว่า 100องค์ พระรอดบางส่วนได้จมหายไปในธรณี เนื่อง จากแผ่นดินไหว ส่วนใหญ่พระรอดที่ค้นพบในระดับดินที่มีความลึกนี้พบพระรอดพิมพ์ใหญ่ พิมพ์เครื่องราช /พระรอดพิมพ์ตื้น/พระรอดพิมพ์กลาง /พระรอดพิมพ์เล็ก /พระรอดพิมพ์ต้อ พระคง พระรอดพิมพ์ต้อ พระรอดส่วนใหญ่จะมีมวลสารที่ใกล้เคียงพระคง ที่กรุวัดพระคง จึงพอสันนิษฐานได้ว่าจะเป็นพระที่สร้างในยุคเดียวกัน จาการดูจากมวลสารที่ใกล้เคียงกัน จากโพธิ์ผนังที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน พระฤๅษีที่สร้างน่าจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน
ในการค้นพบรอยมาร์คฐานด้านซ้ายองค์พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน และพระคงกรุวัดพระคงฤาษี
จากการนี้ทำให้เราทราบว่า
Over 100 amulets were found during the construction at 2-4 meters depth from the surface were made in the reign of Queen Chammathewee, some missing due to earthquake. Most of amulet that found buried at this level is big sized-mold Phra Rod, insignia mold, shallower mold, medium sized-mold, small sized-mold, shorted-mold and Phra Kong. It’s enough to assume that they were built in the same generation same as the discovery of the mark at the base of Phra Rod Wat Mahawan. The founding let us know;
1. ช่างหลวงยุคเดียวกันเป็นผู้สร้างและออกแบบ
2. ระยะเวลาในการสร้างสันนิษฐานในช่วงระยะเวลาเดียวกัน
3. พุทธศิลป์ที่มีความสวยงามมีพระพักตร์ชัดเจนในพระคงวัดพระคงฤาษี
4. อาณาเขต ของวัดน่าจะมีอาณาเขตติดต่อกัน จึงมีการแลกเปลี่ยนศิลปะและแนวคิดที่คล้ายกัน ดังปรากฏในพยานวัตถุที่ค้นพบล่าสุดที่วัดพระคงฤาษี ปี /2551 และพระรอดพิมพ์ใหญ่ที่ค้นพบโดยช่างแก้ว
2. ระยะเวลาในการสร้างสันนิษฐานในช่วงระยะเวลาเดียวกัน
3. พุทธศิลป์ที่มีความสวยงามมีพระพักตร์ชัดเจนในพระคงวัดพระคงฤาษี
4. อาณาเขต ของวัดน่าจะมีอาณาเขตติดต่อกัน จึงมีการแลกเปลี่ยนศิลปะและแนวคิดที่คล้ายกัน ดังปรากฏในพยานวัตถุที่ค้นพบล่าสุดที่วัดพระคงฤาษี ปี /2551 และพระรอดพิมพ์ใหญ่ที่ค้นพบโดยช่างแก้ว
1. Created and designed by the royal craftsman of the same generation.
2. Time to build assumption in the same period
3. Buddhist art is beautiful with clear face especially in Phra Kong Wat and Phra Kong Rusee.
4. The territory of the temple, the territory would be consecutive, Therefore the exchange of artistic ideas and the like as shown in the physical evidence that found in 2008 by Mr.Kaew, the contractor.
2. Time to build assumption in the same period
3. Buddhist art is beautiful with clear face especially in Phra Kong Wat and Phra Kong Rusee.
4. The territory of the temple, the territory would be consecutive, Therefore the exchange of artistic ideas and the like as shown in the physical evidence that found in 2008 by Mr.Kaew, the contractor.
ข้อมูลของช่างแก้ว ตรงกับข้อความสัมภาษณ์ของ หนานแดง แก้วตา เล่าถึงเหตุการณ์ขุดซ่อมถนนและพบพระรอดโดยบังเอิญที่วัดมหาวัน พบ พิมพ์พระต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ พระรอดพิมพ์ใหญ่ /พระรอดพิมพ์ต้อ /พระรอดพิมพ์เล็ก/พระรอดพิมพ์กลาง/ นอกจากนั้นยังพบพระรอดพิมพ์แขนติ่ง พระคง พบพระรอดพิมพ์ใหญ่ และพิมพ์ต้อ จำนวนหลายองค์ผู้เขียน จึงมีโอกาสได้ศึกษาพระรอดอย่างละเอียดและได้เห็นพระรอดแท้ ๆ ยุคที่พระนางจามเทวีสร้าง ทุกแง่ทุกมุม รวมทั้งเศษพระหักจำนวนมาก ทำให้ทราบรายละเอียดของมวลสารที่ใช้ในการสร้างพระรอด และตีความหมายออกมาตรงกับจุดประสงค์ของผู้สร้างเป็นเกณฑ์ และได้ทำงานวิจัยระหว่างพระรอดวัดมหาวัน และวัตถุโบราณที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติจังหวัดลำพูน
Information of the contractor matched the text of the interview Nam-Daeng Kaewta, talk about events to repair roads and suddenly found various amulet types in different sized-molds. The author has the oppunity to study Phra Rod in every aspect to know the details of mass to use in building and interpreted to meet the objectives of the creator. And research between Phra Rod Wat Mahawan and antiques in Lamphun National Museum.
ดินที่นำมาสร้างพระรอด
คุณไพศาล แสนไชย ได้ กล่าวว่า พญาเต่าเผือกได้คาบเอาดินบริสุทธิ์สีขาวมาทำรัง ที่อำเภอบ้านโฮ้ง จังหวัดลำพูน (ปัจจุบัน) และนำดินชนิดนี้มาสร้างพระรอด ที่มาหนังสือ มิติพิศวง กาลนี้ทำได้ตรงกับ พระรอดขาวที่ค้นพบในวัดมหาวันและหลังวัดจามเทวี และบริเวณศาลาเอสเอ็มแอล มีพระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เล็ก แต่ในความเป็นจริงดินชนิดนี้ค้นพบจังหวัดลำปาง(นิยมนำมาทำเครื่องปั้นดินเผา แต่โบราณ) ในอดีต พระราชโอรสของพระนางจามเทวีให้ พระเจ้าอนันตศ ไปครองนครลำปางจึงได้ดินชนิดนี้มาสร้างพระรอดความเกี่ยวโยงค่อนข้างเป็นความ จริง คุณสมบัติ ดินที่นำมาสร้างพระรอด จากผลการวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน มิสเตอร์เจมส์ ฮอกกิ้น พบว่าดินเหนียวในจังหวัดลำพูน ที่ใช้ในการสร้างพระรอด พบธาตุเหล็ก และอะลูมิเนียม (Iron and aluminium clays) เป็นดินเหนียวชนิดที่มีธาตุเหล็ก และอะลูมิเนียมออกไซด์เป็นองค์ประกอบได้แก่
1. แร่ลิโมไนท์ Fe2 O NH2O
2. แร่เฮมาไทท์ Fe2 O3
3. แร่ออกไซด์ AK2 O3 N H2O
ดินที่นำมาสร้างพระรอด
คุณไพศาล แสนไชย ได้ กล่าวว่า พญาเต่าเผือกได้คาบเอาดินบริสุทธิ์สีขาวมาทำรัง ที่อำเภอบ้านโฮ้ง จังหวัดลำพูน (ปัจจุบัน) และนำดินชนิดนี้มาสร้างพระรอด ที่มาหนังสือ มิติพิศวง กาลนี้ทำได้ตรงกับ พระรอดขาวที่ค้นพบในวัดมหาวันและหลังวัดจามเทวี และบริเวณศาลาเอสเอ็มแอล มีพระรอดพิมพ์ใหญ่พิมพ์เล็ก แต่ในความเป็นจริงดินชนิดนี้ค้นพบจังหวัดลำปาง(นิยมนำมาทำเครื่องปั้นดินเผา แต่โบราณ) ในอดีต พระราชโอรสของพระนางจามเทวีให้ พระเจ้าอนันตศ ไปครองนครลำปางจึงได้ดินชนิดนี้มาสร้างพระรอดความเกี่ยวโยงค่อนข้างเป็นความ จริง คุณสมบัติ ดินที่นำมาสร้างพระรอด จากผลการวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน มิสเตอร์เจมส์ ฮอกกิ้น พบว่าดินเหนียวในจังหวัดลำพูน ที่ใช้ในการสร้างพระรอด พบธาตุเหล็ก และอะลูมิเนียม (Iron and aluminium clays) เป็นดินเหนียวชนิดที่มีธาตุเหล็ก และอะลูมิเนียมออกไซด์เป็นองค์ประกอบได้แก่
1. แร่ลิโมไนท์ Fe2 O NH2O
2. แร่เฮมาไทท์ Fe2 O3
3. แร่ออกไซด์ AK2 O3 N H2O
Soil to build Phra Rod
Khun Paisarn Saenchai said, “a white turtle removed the soil pure white to nest at Ban Hong district of Lamphun province. And the same type of soil to build Phra Rod amulet” Source-Miti Pissawong magazine. This time can match Phra Rod Khao that found in Wat Mahawan and behind Wat Chammathewee and SLM pavilion. But in fact this soill be found at Lampang. Soil properties to build Phra Rod based on the research of American scientist James Hoggins found that clay is mixed of iron and aluminum oxide elements are:-
1. Limonite-Fe2O NH2O
2.Hematite-Fe2 O3
3. Oxide AK2 O3 NH20มวลสารที่ผสมใส่ลงไปในดินที่สร้างพระรอด นอกเหนือไปจากดินเหนียวแล้วยังประกอบด้วย สิ่งที่เป็นสิริมงคลดังนี้
1. โพรงเหล็กไหล (แร่ดอกมะขาม)
2. ว่านคงกระพัน 108
3. พระธาตุชนิดต่างๆ
4. อิฐกำแพงเก่าสี่มุมเมือง
5. ดินบริเวณเสาหลักเมือง
6. ศาสตราวุธ (เพื่อข่มเป็นเคล็ดในการต่อสู้กับศัตรู)
7. ผลตะไบพระโลหะ
8. เกสรดอกไม้ 108
9. น้ำทิพย์ จากดอยคำม้อ และสถานที่อื่น ๆ
10. ดินเหนียวบริสุทธิ์ใจกลางน้ำปิง (ดินจากบาดาล)
11. เหล็กไหล
12. เหล็กไหลตาแรด
13. เมฆกระพัด
14. เหล็กน้ำพี้
15. ข้าวตอกฤาษี
16. ผงยาฤาษี
17. แร่ดอกมะขาม
18. ดินศิลาธิคุณ
1. Limonite-Fe2O NH2O
2.Hematite-Fe2 O3
3. Oxide AK2 O3 NH20มวลสารที่ผสมใส่ลงไปในดินที่สร้างพระรอด นอกเหนือไปจากดินเหนียวแล้วยังประกอบด้วย สิ่งที่เป็นสิริมงคลดังนี้
1. โพรงเหล็กไหล (แร่ดอกมะขาม)
2. ว่านคงกระพัน 108
3. พระธาตุชนิดต่างๆ
4. อิฐกำแพงเก่าสี่มุมเมือง
5. ดินบริเวณเสาหลักเมือง
6. ศาสตราวุธ (เพื่อข่มเป็นเคล็ดในการต่อสู้กับศัตรู)
7. ผลตะไบพระโลหะ
8. เกสรดอกไม้ 108
9. น้ำทิพย์ จากดอยคำม้อ และสถานที่อื่น ๆ
10. ดินเหนียวบริสุทธิ์ใจกลางน้ำปิง (ดินจากบาดาล)
11. เหล็กไหล
12. เหล็กไหลตาแรด
13. เมฆกระพัด
14. เหล็กน้ำพี้
15. ข้าวตอกฤาษี
16. ผงยาฤาษี
17. แร่ดอกมะขาม
18. ดินศิลาธิคุณ
Mixed materials onto the soil that use to building Phra Rod in addition to clay, but also include the felicitous materials are:-
1. Mythical mineral
2.108 kinds of plant that believe invulnerable.
3.The various holy relics
4. Old brick wall four Corners
5. City pillar soil
6. Weapons
7. the metal filings
8. 108 kinds of carpel
9. Holy water from Doi Khum Mor and from other places
10. Pure clay from the Ping River
11. Mythical metal
12. Ta-Rad metal
13. Make Ka Pad
14. Special iron mineral called Nam-Pee
15. Limonite
16. Powder medicine
17. A mineral called Dok-Makham
18. Holy soil
1. Mythical mineral
2.108 kinds of plant that believe invulnerable.
3.The various holy relics
4. Old brick wall four Corners
5. City pillar soil
6. Weapons
7. the metal filings
8. 108 kinds of carpel
9. Holy water from Doi Khum Mor and from other places
10. Pure clay from the Ping River
11. Mythical metal
12. Ta-Rad metal
13. Make Ka Pad
14. Special iron mineral called Nam-Pee
15. Limonite
16. Powder medicine
17. A mineral called Dok-Makham
18. Holy soil
สาเหตุในการสร้างพระรอด
ในยุคที่พระนางจามเทวีสร้างอาณาจักรหริภุญชัย ได้นำศาสนามาฟื้นฟูอาณาจักรบ้านเมืองมีความเจริญรุ่งเรือง ประชาชนมีความสุขโดยทั่วหน้า ข้าวปลาอาหารอุดมสมบูรณ์ เข้าทำนองในน้ำมีปลาในนามีข้าวพระนางจามเทวี เป็นที่หมายปองของเจ้าเมืองต่าง ๆ อีกทั้งพระนางจามเทวีมีพระสิริโฉมงดงามเป็นที่รักของคนทั่วไป ถ้าใครตีเมืองหริภุญชัยได้ก็จะได้ทั้งเมืองและได้พระนางเป็นมเหสีอีกด้วย จึงมีเจ้าเมืองต่าง ๆ พยายามจะทำศึกสงครามมาโดยตลอด โดยที่พระนางจามเทวี มีพระฤๅษีเป็นที่ปรึกษาในกิจการด้านศาสนา การบริหารและการทหาร จึงมีความเห็นว่าสมควรจัดสร้างสิ่งที่มีความเป็นสิริมงคลครั้งยิ่งใหญ่เพื่อ เป็นทั้งขวัญและกำลังใจให้ทหารการขยายอาณาจักร จึงมีตราราชวงค์ในองค์พระรอด พระรอด เป็นการแก้เคล็ดแก้อาถรรพ์ให้บ้านเมือง จึงตั้งศาลบูชาเทพยดาฟ้าดิน เพื่อสร้างพระรอด โดยเกณฑ์ช่าง 10 หมู่ ร่วมมือปรึกษาหารือกันออกแบบองค์พระรอด ให้มีความสวยงามให้แนวคิด และมีความกลมกลืนช่างที่ออกแบบด้วยไม้มงคล แกะสลัก
ต่อมามีการค้นพบมีพระรอดที่มีเครื่องราชลัญจกปรากฏที่พระอุระด้านซ้ายองค์ พระในพระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมารถขุด
ในยุคที่พระนางจามเทวีสร้างอาณาจักรหริภุญชัย ได้นำศาสนามาฟื้นฟูอาณาจักรบ้านเมืองมีความเจริญรุ่งเรือง ประชาชนมีความสุขโดยทั่วหน้า ข้าวปลาอาหารอุดมสมบูรณ์ เข้าทำนองในน้ำมีปลาในนามีข้าวพระนางจามเทวี เป็นที่หมายปองของเจ้าเมืองต่าง ๆ อีกทั้งพระนางจามเทวีมีพระสิริโฉมงดงามเป็นที่รักของคนทั่วไป ถ้าใครตีเมืองหริภุญชัยได้ก็จะได้ทั้งเมืองและได้พระนางเป็นมเหสีอีกด้วย จึงมีเจ้าเมืองต่าง ๆ พยายามจะทำศึกสงครามมาโดยตลอด โดยที่พระนางจามเทวี มีพระฤๅษีเป็นที่ปรึกษาในกิจการด้านศาสนา การบริหารและการทหาร จึงมีความเห็นว่าสมควรจัดสร้างสิ่งที่มีความเป็นสิริมงคลครั้งยิ่งใหญ่เพื่อ เป็นทั้งขวัญและกำลังใจให้ทหารการขยายอาณาจักร จึงมีตราราชวงค์ในองค์พระรอด พระรอด เป็นการแก้เคล็ดแก้อาถรรพ์ให้บ้านเมือง จึงตั้งศาลบูชาเทพยดาฟ้าดิน เพื่อสร้างพระรอด โดยเกณฑ์ช่าง 10 หมู่ ร่วมมือปรึกษาหารือกันออกแบบองค์พระรอด ให้มีความสวยงามให้แนวคิด และมีความกลมกลืนช่างที่ออกแบบด้วยไม้มงคล แกะสลัก
ต่อมามีการค้นพบมีพระรอดที่มีเครื่องราชลัญจกปรากฏที่พระอุระด้านซ้ายองค์ พระในพระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมารถขุด
Reasons to create Phra Rod
In the age of Queen Chammathewee of Hariphunchai kingdom, religion has brought the country to restore a thriving empire, people are happy, rice and fish abundance so Lamphun is the meaning of thy desire cities. In addition, Queen Chammathewee glory look beautiful, loved the people. There is a saying if anyone defeat Hariphunchai the entire city will have a wife and a princess too. There are various rulers tried to war a long time ago. In the Queen Chammathewee scriptions has a hermit as a consultant in the business of religion and both morale to the military to expand empire. So it has a royal seal of the holy survival tips to solve a mystery to solve the country. The Phra Rod creation criterion of 10 technician’s discussion among co-designed to have a conception in harmony with the sacred wood. Subsequently, a discover found the royal insignia appear at the left chest of the Buddha.
In the age of Queen Chammathewee of Hariphunchai kingdom, religion has brought the country to restore a thriving empire, people are happy, rice and fish abundance so Lamphun is the meaning of thy desire cities. In addition, Queen Chammathewee glory look beautiful, loved the people. There is a saying if anyone defeat Hariphunchai the entire city will have a wife and a princess too. There are various rulers tried to war a long time ago. In the Queen Chammathewee scriptions has a hermit as a consultant in the business of religion and both morale to the military to expand empire. So it has a royal seal of the holy survival tips to solve a mystery to solve the country. The Phra Rod creation criterion of 10 technician’s discussion among co-designed to have a conception in harmony with the sacred wood. Subsequently, a discover found the royal insignia appear at the left chest of the Buddha.
การค้นพบพระรอด ในการสร้าง ศาลาเอสเอ็มแอล (บริเวณหน้าวัดจามเทวี ) โดยทีมงานของช่างเสริฐ พบพระรอดพิมพ์ใหญ่ ที่มีตราสัญญาลักษณ์ ที่พระอุระด้านขวา เป็นรูปพญาหงส์ศิลปะเขมรจากหลักฐาน ประวัติของขุนหลวงวิลังคะ (มะลังคะ) โดย ประเวศ สายกัป เรียบเรียงพิมพ์แจกในงาน ประเพณีเลี้ยงดง ที่หมู่บ้านแม่เหียะ ตำบลแม่เหียะ จังหวัดเชียงใหม่ กล่าวว่า
The discovery Phra Rod at SML pavilion in front of Wat Chammathewee by Mr.Prasert’s construction workers. They found big mold amulets with swan mark in Khmer style on the right chest. Evidence from the history of Khun Luang Wilangkha written by Pravej Saikab, print to distribution in the traditional “Liang-Dong” fair at Chiangmai’s Mae Hia sub-district, said:
ขุนหลวงวิลังคะเป็นโอรสองค์ที่ 13 ของพระกุนาระราชา แห่งนครทัมมิฬะ บางแห่ง เรียกว่าทัมมิลลวะ และบางแห่งเรียกว่า นครมิลังคะกุระ ต่อมาเปลี่ยนชื่อมาเป็น เมืองระมิงค์นคร อายุได้ 90 ชันษา มเหสีได้ถึงแก่ทิวงคตลง ขุนหลวงวิลังคะ ได้ข่าวว่า เมืองหริภุญชัยมีกษัตรีย์ที่มีพระสิริโฉมงดงามมากมีชนมายุ จ พรรษา มีพระนามว่า พระนางจามเทวี จึงได้ส่งทูตไปเจรจาสู่ขอมาเป็นพระมเหสีพระนางจามเทวีได้ตั้งข้อแม้ ให้ขุนหลวงวิลังคะสำแดงเดชด้วยการพุ่งเสน้า ( เหลนบางที่เรียกว่า ธนู หน้าไม้ที่มีขนาดใหญ่ ) ถ้าสามารถพุ่งเสน้าจากดอยสุเทพถึงเมืองหริภุญชัยได้ ก็จะยอมเป็นมเหสี จึงทดลองพุ่งเสน้าครั้งแรก เสน้าที่พุ่งไปครั้งแรก ไปตกที่หนองน้ำเหนือเมืองหริภุญชัย ณ ที่ขุนหลวงวิลังคะพุ่งเสน้าไปตกครั้งแรก ( ปัจจุบันเรียกว่าหนองเสร้า ) พระนางจามเทวีตกพระทัยยิ่งนัก เพราะไม่ได้มีพระทัยปฏิพัทธ์รักใคร่ในตัวขุนหลวงวิลังคะเลย ครั้น จะตอบปฏิเสธก็กลัวระมิงค์นครจะนำทหารมาย่ำยี จึงได้เย็บพระมาลาหรือหมวก แล้วลงอาถรรพ์ไว้ภายใน ให้ทูตนำมาถวายขุนหลวงวิลังคะพร้อมกับรับสั่งว่า ครั้งต่อไป ให้สวมพระมาลาใบนี้ตอนพุ่งเสน้าด้วย
ขุนหลวงวิลังคะเป็นโอรสองค์ที่ 13 ของพระกุนาระราชา แห่งนครทัมมิฬะ บางแห่ง เรียกว่าทัมมิลลวะ และบางแห่งเรียกว่า นครมิลังคะกุระ ต่อมาเปลี่ยนชื่อมาเป็น เมืองระมิงค์นคร อายุได้ 90 ชันษา มเหสีได้ถึงแก่ทิวงคตลง ขุนหลวงวิลังคะ ได้ข่าวว่า เมืองหริภุญชัยมีกษัตรีย์ที่มีพระสิริโฉมงดงามมากมีชนมายุ จ พรรษา มีพระนามว่า พระนางจามเทวี จึงได้ส่งทูตไปเจรจาสู่ขอมาเป็นพระมเหสีพระนางจามเทวีได้ตั้งข้อแม้ ให้ขุนหลวงวิลังคะสำแดงเดชด้วยการพุ่งเสน้า ( เหลนบางที่เรียกว่า ธนู หน้าไม้ที่มีขนาดใหญ่ ) ถ้าสามารถพุ่งเสน้าจากดอยสุเทพถึงเมืองหริภุญชัยได้ ก็จะยอมเป็นมเหสี จึงทดลองพุ่งเสน้าครั้งแรก เสน้าที่พุ่งไปครั้งแรก ไปตกที่หนองน้ำเหนือเมืองหริภุญชัย ณ ที่ขุนหลวงวิลังคะพุ่งเสน้าไปตกครั้งแรก ( ปัจจุบันเรียกว่าหนองเสร้า ) พระนางจามเทวีตกพระทัยยิ่งนัก เพราะไม่ได้มีพระทัยปฏิพัทธ์รักใคร่ในตัวขุนหลวงวิลังคะเลย ครั้น จะตอบปฏิเสธก็กลัวระมิงค์นครจะนำทหารมาย่ำยี จึงได้เย็บพระมาลาหรือหมวก แล้วลงอาถรรพ์ไว้ภายใน ให้ทูตนำมาถวายขุนหลวงวิลังคะพร้อมกับรับสั่งว่า ครั้งต่อไป ให้สวมพระมาลาใบนี้ตอนพุ่งเสน้าด้วย
Khun Lunag Wilangkha is the 13th son of King Kuranara of Tammira city(can called “Tammilawa” or “Milangkakra”) later to change the name to “Raming Nakorn”. Khun Luang Wilangkh heard Hariphunchai city has the glory and beautiful ruler named Chammathewee. He sent diplomats to negotiate to ask his wife but Queen Chamthewee has set condition show his powerful archery if he can shoot arrows from Doi Suthep to the Hariphunchai then she would allow to be the wife. The first time he shoots an arrow fall to the pond above the town (the spot that arrow fall at present call “Nong Sao”). But the Queen is not a love affair in Khun Luang Wilangkha but she afraid if she refused to answer was afraid Raming Nakorn will be invading. So she has been sewing a hat and then a mystery inside. She sent ambassador to be present to Khun Lunag Wilangkha and say next time please wear this hat when he shooting again.
เมื่อถึงวันแรม 10 เดือน 8 ปีมะเมียพุทธศักราช 1226 เป็นวัที่ขุนหลวงวิลังคะพุ่งเสน้าครั้งที่ 2 นี้ ต่อมาเรียกว่าบ้านปุ่งน้อย ( ปัจจุบันเรียกว่า บ้านโป่งน้อย ต. สุเทพ )ขุน หลวงวิลังคะคงจะมารู้ภายหลังว่าเสียรู้พระนางจามเทวีแล้ว มีความโกรธแค้นเป็นอันมาก จึงได้กรีฑาทัพเข้าโจมตีเมืองหริภุญชัย แต่กลับสู้ทัพเมืองหริภุญชัยไม่ได้ทัพขุนหลวงวิลังคะถูกโจมตีทัพแตก ขุนหลวงวิลังคะถูกฟันพระกรขวาขาดห้อยร่องเร่ง เหล่าทหารจึงพาขุนหลวงวิลังคะหนีออกจากทัพด้วยความคับแค้น อับอายที่พ่ายแพ้แก่ทัพเมืองหริภุญชัย ในเวลากลางคืนขุนหลวงวิลังคะได้เสวยยาสั่งปลิดชีพตัวเอง และลั่นคำสาปเอาไว้ว่า “นับ ตั้งเต่นี้ต่อไปอย่าใหชาวระมิงค์นครและชาวหริภุญชัย มันได้สู่สมกันด้วยความสุข ( เอกสารอ้างอิง ดร. สนอง วรอุไร เอกสาร ถ่ายสำเนาเรื่องพระราชชีวประวัติของเจ้าแม่จามเทวี)
เมื่อถึงวันแรม 10 เดือน 8 ปีมะเมียพุทธศักราช 1226 เป็นวัที่ขุนหลวงวิลังคะพุ่งเสน้าครั้งที่ 2 นี้ ต่อมาเรียกว่าบ้านปุ่งน้อย ( ปัจจุบันเรียกว่า บ้านโป่งน้อย ต. สุเทพ )ขุน หลวงวิลังคะคงจะมารู้ภายหลังว่าเสียรู้พระนางจามเทวีแล้ว มีความโกรธแค้นเป็นอันมาก จึงได้กรีฑาทัพเข้าโจมตีเมืองหริภุญชัย แต่กลับสู้ทัพเมืองหริภุญชัยไม่ได้ทัพขุนหลวงวิลังคะถูกโจมตีทัพแตก ขุนหลวงวิลังคะถูกฟันพระกรขวาขาดห้อยร่องเร่ง เหล่าทหารจึงพาขุนหลวงวิลังคะหนีออกจากทัพด้วยความคับแค้น อับอายที่พ่ายแพ้แก่ทัพเมืองหริภุญชัย ในเวลากลางคืนขุนหลวงวิลังคะได้เสวยยาสั่งปลิดชีพตัวเอง และลั่นคำสาปเอาไว้ว่า “นับ ตั้งเต่นี้ต่อไปอย่าใหชาวระมิงค์นครและชาวหริภุญชัย มันได้สู่สมกันด้วยความสุข ( เอกสารอ้างอิง ดร. สนอง วรอุไร เอกสาร ถ่ายสำเนาเรื่องพระราชชีวประวัติของเจ้าแม่จามเทวี)
At 1226 BE year of the horse, 10 days of half moon and 8th month. The day for the second archery competition, it’s too late to know he get a trap of the Queen Chammathewe, he lose the competition. He was very angry and army to attack the city of Hariphunchai but his army was attacked and defeat. That night Khun Lunag Wilangka take poison to end of life himself. Before he died he pull out the curse that “ from now to just let people of Raming City and people of Hariphunchai equations to each other with joy” (document references:-Dr.Sanong Wora-Urai, copy of document the biography of Queen Chammathewee)
จากหลักฐานดังกล่าวทำให้ทราบว่า เป็นสาเหตุหนึ่ง จำเป็นต้องสร้างพระรอด เพื่อเป็นราชประเพณีของกษัตริย์ การสืบอายุพระศาสนาและเสริมสร้างสิริมงคล ให้บ้านเมืองอยู่เย็นเป็นสุข ส่วนการมอบพระพิมพ์ให้ทหารก็เพื่อ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจเพราะในสมัยนั้น บ้านเมืองถูกรุกรานจากข้าศึกศัตรูอยู่เสมอ
From the evidence they have cause one need to create Phra Rod to the royal tradition of the king and religious renewal and strengthening prosperity. However to investiture the amulet to the military in order to mental bond because in those days the country was always invaded by the enemy.
http://www.prarod.com/?id=article_detail&article_id=14
ผมมีพิมพ์ นี้ สวยมากครับ ทั้งองค์ท่านมีลวดลายศิลปะ แนวคิดตามที่ ได้อ่านมาทุกอย่างเลยครับ ผมดีใจมาก ผมอยากให้ พิมพ์ที่กล่าวมา ว่า นี้คือศิลปะยุคนั้นจริงๆ ครับ ผมอยากให้ ตรวจสอบได้ที่ไหนครับ องค์ที่อยู่กับผม ตามเนื้อพระมีเม็ดเเดงเกาะ เหมือนสนิมครับ สามารถติดต่อได้ทางไหนครับ
ตอบลบ0622407518 เรื่องจริงครับช่วย ผลักดัน ศิลปะมรดกของโลกหน่อยครับ
ลบ